ที กรี น นู ส กิน

ภูมิปัญญา ไทย ด้าน เกษตรกรรม ประโยชน์ - ภูมิปัญญาแบ่งออกเป็น 9 ด้าน - วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

รบ-สอน-ถก-โค-ร-เช-ต
Friday, 24-Dec-21 13:57:32 UTC
  1. ด้านเกษตรกรรม | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
  2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการใช้จุลินทรีย์ ในการเกษตรอินทรีย์ - Chiang Mai News
  3. หน้าหลัก | ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน :
  4. ภูมิปัญญาไทย
  5. ภูมิปัญญาไทย: ประเภทของภูมิปัญญา
  6. ภูมิปัญญาไทยถิ่นอีสาน (หมอลำ): ภูมิปัญญาไทย 9 สาขา
  7. ภูมิปัญญาไทย ด้านเกษตรกรรม

ด้านปรัชญา ศาสนา ประเพณี ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์และการปรับใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อ และประเพณีที่มีคุณค่าให้เหมาะสมบริบททางเศรษฐกิจ สังคม เช่น การถ่ายทอดวรรณกรรมคำสอน การบวชป่าเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติไม่ให้ถูกทำล าย หรือการทำบุญประทายข้าวของชาวอีสาน ซึ่งหลังจากหมดฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ชาวนาจะแบ่งข้าวเปลือกมาถวายทำบุญแก่วัด ซึ่งถือเป็นมงคลสูงสุด การทำบุญประทายข้าวของชาวอีสาน การบวชป่า 9. ด้านโภชนาการ เนื่องจากประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ ใยแต่ละท้องถิ่นจึงน ำเอาวัตถุดิบที่มีสรรพคุณทางยามาประกอบอาหาร เช่น ภาคเหนือมีแกงฮังเล ไส้อั่ว น้ำพริกอ่อง ขนมจีนน้ำเงี้ยว ภาคกลางมีข้าวคลุกกะปิ ขนมจีนน้ำพริก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีส้มตำปลาร้า เนื้อแดดเดียว ลาบ ซุบหน่อไม้ และภาคใต้มีแกงเหลือง แกงไตปลา

ด้านเกษตรกรรม | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการใช้จุลินทรีย์ ในการเกษตรอินทรีย์ - Chiang Mai News

จุลินทรีย์พื้นบ้าน (Indigenous Micro-organisms) สามารถจะเก็บได้จากธรรมชาติโดยใช้ข้าวหุงสุกแล้วใส่จานหรือถาดเกลี่ยให้หนาประมาณ 3 เซนติเมตร ปิดด้วยกระดาษ แล้วนำไปใส่ในกรง เพื่อกันหนูหรือสัตว์อื่นมากิน แล้วนำไปตั้งทิ้งไว้ใต้ต้นไม้ในป่าละเมาะ หรือภายในกองใบไม้แห้งที่มีผ้าพลาสติกคลุม เพื่อกันฝนและน้ำค้างที่มากเกินไป ทิ้งไว้ 5-6 วัน จะมีราสีขาวขึ้นคลุมหน้า จากนั้นให้เทข้าวใส่ในโถกระเบื้องดินเผา ผสมกับน้ำตาลแดงหรือกากน้ำตาล สัดส่วน 1/3 ของน้ำหนักข้าว ส่วนผสมนั้นจะกลายเป็นของเหลวข้นมีจุลินทรีย์เจริญอยู่มากมาย แล้วนำของเหลวนี้ไปผสมกับรำข้าวในสัดส่วนร้อยละ 0. 2 ใช้กระสอบป่านคลุมจะเกิดความร้อน ต้องคอยควบคุมไม่ให้ความชื้นเกิดกว่าร้อยละ 65 แต่ถ้าแห้งเกินไปก็ให้พรมน้ำ ทิ้งไว้ 2-3 วัน จึงเอาไปคลุกผสมกับปุ๋ยคอก มูลสัตว์ในปริมาณ 30 – 50 เท่า แล้วคลุมไว้ประมาณ 3 สัปดาห์ ก็จะได้ปุ๋ยหมักสมบูรณ์ นำไปใส่ปรับปรุงดินประมาณ 1 กิโลกรัม / 1ตารางเมตร สำหรับการปลูกผักอินทรีย์ 2. น้ำหมักพืช (Fermented Plant Juice-FPJ) ขณะที่คนไทยเรียกว่าน้ำสกัดชีวภาพ (Bio-Extract-B. E. ) ผลิตภัณฑ์นี้ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยาก และมีสรรพคุณที่หลากหลายเช่นเดียวกับสาร อี.

หน้าหลัก | ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน :

ภูมิปัญญาไทย

ทรง ผม ผู้หญิง 2020 หน้า กลม

ภูมิปัญญาไทย: ประเภทของภูมิปัญญา

ด้านศิลปกรรม เช่น วาดภาพ(กิจกรรม) การปั้น (ประติมากรรม) นาฎศิลป์ ดนตรี การแสดง การละเล่นพื้นบ้าน นันทนาการ เป็นต้น 7. ด้านภาษาและวรรณกรรม เช่น ความสามารถในการอนุรักษ์ และสร้างผลงานด้านภาษา วรรณกรรมท้องถิ่น การจัดทำสารานุกรมภาษา หนังสือโบราณ การฟื้นฟู การเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่นต่าง ๆ เป็นต้น 8. ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี เช่น ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อ และประเพณีที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การถ่ายทอดวรรณกรรม คำสอน การประยุกต์ประเพณีบุญ เป็นต้น 9. ด้านโภชนาการ เช่น ความสามารถในการเลือกสรร ประดิษฐ์ และปรุงแต่งอาหารและยา ได้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในสภาวการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนผลิตเป็นสินค้าบริการส่งออกที่ได้รับความนิยมแพร่หลายมาก เป็นต้น 10. ด้านองค์กรชุมชน เช่น ร้านค้าชุมชน ศูนย์สาธิตการตลาด กลุ่มออมทรัพย์องค์กรด้านการตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มจักรสาน กลุ่มทอผ้า กลุ่มทอเสื่อ กลุ่มตีมีด ตีขวาน เครื่องมือที่ทำจากเหล็ก กองทุนสวัสดิการชุมชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น จากการแบ่งประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่นักการศึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ได้กล่าวมาสรุปได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถแบ่งตามลักษณะของคนในท้องถิ่นหรือชุมชนได้คิดหรือ ได้รับการถ่ายทอดและถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งเกิดจากความเชื่อ ความรู้สึก ความนึกคิด ในการสร้างสรรค์แบบแผนของการดำเนินชีวิต รวมถึงการนำเทคโนโลยีพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป

ภูมิปัญญาไทยถิ่นอีสาน (หมอลำ): ภูมิปัญญาไทย 9 สาขา

สาขาเกษตรกรรม 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม 3. สาขาการแพทย์แผนไทย 4. สาขาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน 6. สาขาสวัสดิการ 7. สาขาศิลปกรรม 8. สาขาการจัดการ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม 10.

ภูมิปัญญาไทย ด้านเกษตรกรรม

2003 "ด้านวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา" จำนวน 18 รายการ ได้แก่ (1) ตำนานเขาสาปยา จ. ชัยนาท (2) ตำนานเมืองลพบุรี จ. ลพบุรี ด้านศิลปะการแสดง (3) โปงลาง จ. กาฬสินธุ์ (4) กลองอืด จ. ตาก (5) รำมอญ จ. ปทุมธานี (6) รำตร๊ด จ. ศรีสะเกษ และ จ. สุรินทร์ (7) ลำแมงตับเต่า ไทเลย จ. เลย ด้านแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และงานเทศกาล (8) ประเพณีอัฐมีบูชา จ. นครปฐม และ จ. อุตรดิตถ์ (9) โจลมะม้วต จ. สุรินทร์ (10) ประเพณีแห่นางดาน จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล (11) ทุเรียนนนท์ จ. นนทบุรี (12) ปลาสลิดบางบ่อ จ. สมุทรปราการ ด้านงานช่างฝีมือดั้งเดิม (13) หม้อน้ำดินเผาเกาะเกร็ด จ. นนทบุรี (14) งานปูนปั้นสกุลช่างเมืองเพชร จังหวัดเพชรบุรี (15) เครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน จ. นครราชสีมา (16) ซิ่นหมี่คั่นน้อยไทหล่ม จ. เพชรบูรณ์ ด้านการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว (17) อิ้นกอนฟ้อนแคน จ. นครปฐม และ (18) การแข่งขันว่าวดุ๊ยดุ่ย จ.

การสร้างสรรค์และปรับปรุง ระบบความรู้ของชาวบ้านไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่แต่ถูกปรับเปลี่ยน ตลอดมา โดยอาศัยประสบการณ์ของชาวบ้านเอง เรายังขาดการศึกษาว่าชาวบ้านปรับเปลี่ยนความรู้ และระบบความรู้เพื่อเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ประเภทของภูมิปัญญา 1. คติ ความคิด ความเชื่อ และหลักการ เป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ ที่ถ่ายทอดกันมา 2. ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เป็นแบบแผนของการดำเนินชีวิตที่ปฏิบัติ สืบทอดกันมา 3. การประกอบอาชีพในแต่ละท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับกาลสมัย 4. แนวคิดหลักปฏิบัติแลเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชาวบ้านนำมาใช้ในชุมชนเป็นอิทธิพล ของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แบ่งประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ 10 กลุ่ม ดังนี้ ได้แบ่งประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ 10 กลุ่ม ดังนี้ 1. ด้านเกษตรกรรม เช่น การเพาะปลูก การขยายพันธ์ การเลี้ยงสัตว์ การเกษตรผสมผสาน การทำไร่นาสวนผสม การปรับใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น 2. ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม เช่น การจัดสาน ทอ การช่าง การทอผ้า การแกะสลัก เป็นต้น 3. ด้านการแพทย์แผนไทย เช่น หมอสมุนไพร หมอยากลางบ้าน หมอนวดแผนโบราณ หมอยาหม้อ 4.

1 ผ้าพื้นเมือง โดยเฉพาะผ้าไหม มีชื่อเสียงในด้านลวดลายสวยงามและมีคุณภาพ เช่น ผ้าไหมมัดหมี่ จังหวัดขอนแก่น ผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ และหมอนขวานผ้าขิด จังหวัด ยโสธร เป็นต้น 2. 2 ลำกลอน ผู้ที่ร้องลำกลอน เรียกว่า " หมอลำ " เป็นผู้นำทางความคิดของผู้คน ในท้องถิ่นโดยจะร้องลำกลอนที่มีเนื้อหาสะท้อนภาพความเป็นจริงของสังคม เช่น การกดขี่ ของเจ้าหน้าที่ ความยากจนของราษฎร ฯลฯ หรือสังคมที่ดีงามในอุดมคติ เช่น ความเจริญของท้องถิ่น และความอยู่ดีกินดีของราษฎร เป็นต้น 2. 3 บทเพลงเจรียงเบริญ เป็นการละเล่นที่ดัดแปลงมาจากการขับร้องแบบดั้งเดิมของ ชาวไทยเชื้อสายเขมรในแถบอีสานใต้ มีลักษณะเป็นเพลงร้องโต้ตอบ เน้นความไพเราะของภาษา ทำนอง และน้ำเสียงที่ใช้ขับร้อง นิยมนำมาแสดงในงานประเพณีและงานศพ ของชาวไทยเชื้อสายเขมร โดยเฉพาะที่จังหวัดสุรินทร์ บทเพลงเจรียงเบริญ แสดงถึงภูมิปัญญาของชาวอีสานใต้เชื้อสายเขมรหลายประการ เช่น เน้น ความสามัคคีในชุมชน การสืบทอดประเพณีดั้งเดิมของบรรพบุรุษและหน้าที่ของบุตรที่พึงปฏิบัติต่อ บิดามารดา ตลอดจนการผสมผสานความเชื่อระหว่างศาสนาพุทธ พราหมณ์ และภูติวิญญาณ เป็นต้น ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคกลาง ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคกลาง มีดังนี้ 3.

ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาไทย คือ ความรู้ ความสามารถ ทักษะและเทคนิคการตัดสินใจ ผลิตผลงานของบุคคล อันเกิดจากการสะสมองค์-ความรู้ทุกด้านที่ผ่านกระบวนการสืบทอด พัฒนาปรับปรุง และเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดีสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ความสามารถในการผสมผสานองคืความรู้ ทักษะ และเทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิม ซึ่งสามารถพึ่งพาตนเองได้ในสภาวการณ์ต่าง เช่น การทำเกษตรแบบผสมผสาน ทำนา 2. ด้านอุตสาหกรรม การรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปปลปลิตเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย และประหยัด อันเป็นกระบานการให้ชุมชนท้องถิ่นพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้ เช่นการทำเครื่องเรือนจากไม้ การทอผ้า ทอเสื่อ การทำเครื่องจักสาน เครื่องเรือนทำจากไม้ ทอผ้า 3. ด้านการแพทย์ ได้แก่ ความสามารถในการจัดการป้องกันและรักษาสุขภาพของคนในชุมชนโดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตันเองทางด้านสุขภาพและอนามัยได้ เช่น ยาจากสมุนไพรทีอยู่หลากหลาย อาทิ การใช้ใบกระเพราแก้ขับลม ท้องอืด ท้องเฟ้อ การนวดแผนโบราณและการประคบที่ใช้สมุนไพรประกอบการนวด การดูแลและรักษาสุขภาพแบบพื้นบ้าน ยาจากกระเพรา สมุนไพรต่างๆ 4.

2552: ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช. )ศึกษาที่โรงเรียนเทคโนโลยีบริหารธุรกิจรักไทย จังหวัดบุรีรัมย์ พ. 2553: ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.

  • หวย พิชิต ชัย 16 2 62 7
  • ด้านเกษตรกรรม | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
  • ภูมิปัญญาแบ่งออกเป็น 9 ด้าน - วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
  • เหรียญ หลวง พ่อ เปิ่น รุ่น 1.0
  • 2.3 ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น - Aunpanya34
  • กบ ไส ไม้ มือ สอง
  • วิธี ทำ หยด น้ำ กิน ได้
  • ภูมิปัญญาชาวบ้าน: ภูมิปัญญาแต่ละภาค
  • ภูมิปัญญา – ความเป็นไทย
  • ประตูหน้าต่างบานเลื่อนอลูมิเนียม / UPVC - Thai Watsadu